ยินดีต้อนรับจ้า ◕‿◕

วันอังคารที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2558

บทที่ 1 บทนำและการวัด

ปริมาณทางฟิสิกส์  ปริมาณทางฟิสิกส์ แบ่งได้เป็น  2 ประเภท คือ
      1. ปริมาณสเกลาร์ (scalar quantities) คือ ปริมาณที่บอกแต่ขนาดอย่างเดียวก็ได้ความหมายสมบูรณ์ ไม่ต้องบอกทิศทาง เช่น ระยะทาง มวล เวลา ปริมาตร ความหนาแน่น งาน พลังงาน ฯลฯ   
      2. ปริมาณเวกเตอร์ (Vector  quantities) คือ ปริมาณที่ต้องบอกทั้งขนาดและทิศทาง จึงจะได้ความหมายสมบูรณ์ เช่น การกระจัด ความเร่ง ความเร็ว แรง โมเมนตัม ฯลฯ...อ่านเพิ่มเติม






บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง

การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง 
การเคลื่อนที่ในแนวตรงด้วยความเร่งคงที่ มีสูตรดังนี้ 
1. v = u + at 
Description: http://www.bs.ac.th/lab2000/physicweb/Image4.gif 
Description: http://www.bs.ac.th/lab2000/physicweb/Image5.gif 
4. v2 = u2 + 2as 
u = ความเร็วเริ่มต้น...อ่านเพิ่มเติม




บทที่ 3 มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน

กฎของนิวตัน (Newton’s laws)

         เซอร์ ไอแซค นิวตัน (Sir Isaac Newton) เป็นนักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษ ถือกำเนิดใน ปี ค.ศ.1642 นิวตันสนใจดาราศาสตร์ และประดิษฐ์กล้องโทรทรรศน์ชนิดสะท้อนแสง (Reflecting telescope) ขึ้นโดยใช้โลหะเงาเว้า...อ่านเพิ่มเติม



บทที่ 4 สมดุลงานและพลังงาน

   1. พลังงานจลน์ (Kinetics Energy) คือ พลังงานจากการเคลื่อนที่ของสสาร จากตําแหน่งหนึ่งไปอีก ตําแหน่งหนึ่ง 
   2. พลังงานศักย์ (Potential Energy) คือ พลังงานเนื่องจากตําแหน่งของสสารในสนามแรงดึงดูด ใน ที่นี้คือ แรงโน้มถ่วงของโลก
   3. พลังงานภายใน (Internal Energy) คือ พลังงานรูปแบบอื่นที่แตกต่างจาก...อ่านเพิ่มเติม